transformex.org

หิน ใน ธรรมชาติ

Saturday, 18-Jun-22 21:48:11 UTC

การผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพ เป็นการแตกสลายของหินเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยลงเรื่อยๆ ซึ่งจะได้เศษหินที่มีองค์ประกอบไม่ต่างจากหินต้นกำเนิด เช่น การผุพังของหินเนื่องจากน้ำแข็ง การระเบิดหิน เป็นต้น 2. การผุพังอยู่กับที่ทางเคมี เกิดจากน้ำฝนละลายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทำให้น้ำฝนมีสภาพเป็นกรดคาร์บอนนิก สามารถกัดกร่อนหินให้เกิดการผุพังได้ 3. การผุพังอยู่กับที่ทางชีวภาพ เกิดขึ้นโดยการกระทำของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะอาจเกิดจากการเติบโตของรากพืช ทำให้เกิดรอยแยกและรอยแตกในหินทำให้หินแตกเป็นเศษหิน เมื่อรวมกับการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืชซากสัตว์จะกลายเป็นดิน บริเวณที่เกิดกระบวนการนี้อาจแผ่ขยายได้กว้างขวางส่วนใหญ่เกิดขึ้นบริเวณชั้นบนของเปลือกโลก

  1. หินธรรมชาติ
  2. 2.หิน - ทรัพยากรธรรมชาติ
  3. หินในธรรมชาติ ป.1
  4. หินในธรรมชาติ - YouTube
  5. 3.เปลี่ยนแปลงของหินในธรรมชาติ - กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
  6. หินในธรรมชาติ - Flip eBook Pages 1-11 | AnyFlip

หินธรรมชาติ

วิทยาศาสตร์ ป. 1 EP30 หินในธรรมชาติ - YouTube

2.หิน - ทรัพยากรธรรมชาติ

หินในธรรมชาติ ป. 1 - YouTube

หินในธรรมชาติ ป.1

หินในธรรมชาติ - YouTube

3.เปลี่ยนแปลงของหินในธรรมชาติ - กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

หินอัคนี ( Igneous rocks) เกิดจาก การเย็นตัวแล้วแข็งตัวของหินหลอมเหลวใต้พื้นผิวโลก (แมกมา)หรือลาวา ซึ่งหินหลอมเหลวแต่ละแห่งมีองค์ประกอบไม่เหมือนกัน ทำให้มีสีหรือเนื้อหินมีลักษณะต่างกัน หินอัคนีมีลักษณะเป็นหินแข็ง ประกอบด้วยผลึกที่ไม่มีชั้นให้เห็นและหากแมกมามีการปะทุจากปล่องภูเขาไฟออกมาเป็นลาวาแล้วมีการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว จะเกิดรูพรุนที่เนื้อหิน เนื่องจากการไหลออกของอากาศที่แทรกอยู่ในหิน หินชนิดนี้จะไม่มีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏอยู่ ตัวอย่างหินอัคนี เช่น หินแกรนิต หินแอนดีไซด์ เป็นต้น 2. หินตะกอนหรือหินชั้น (sedimentary rocks) เกิดจากการ ทับถมอัดแน่น และมีการเชื่อมประสานของตะกอน ที่เกิดจากการผุพังของหินชนิดต่างๆ ทั้งจากการทับถมของกระแสน้ำ กระแสลมที่พัดพามา ทำให้เกิดการประสานตัวกันแน่นกลายเป็นหิน หินชนิดนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะเปราะและแตกง่าย เนื้อหินจะสามารถมองเห็นเม็ดหินได้ และอาจพบซากดึกดำบรรพ์ได้ในหินประเภทนี้ ตัวอย่างหินประเภทนี้ได้แก่ หินกรวดมน หินปูน หินทราย เป็นต้น 3. หินแปร ( Metamorphic rocks) เกิดจากการ แปรสภาพของหินเดิม (ทั้งหินอัคนีและหินตะกอน) เนื่องจากความร้อนและความดันจากแรงกดทับภายใต้ผิวโลก มีมาก จนทำให้รูปร่างและลักษณะของเนื้อหินเปลี่ยนไป มีลักษณะแข็งและสามารถเห็นแยกเป็นชั้นๆ หรือเห็นแถบชั้นได้อย่างชัดเจน อาจพบซากดึกดำบรรพ์ที่มีสภาพไม่สมบูรณ์ได้ในหินประเภทนี้ ตัวอย่างหินประเภทนี้ได้แก่ หินอ่อน หินชนวน เป็นต้น

หินในธรรมชาติ - Flip eBook Pages 1-11 | AnyFlip

หินธรรมชาติ

การแปรสภาพสัมผัส (Contact metamorphism) เป็นการแปรสภาพเพราะความร้อน เกิดขึ้น ณ บริเวณที่หินหนืดหรือลาวาแทรกดันขึ้นมาสัมผัสกับหินท้องที่ ความร้อนและสารจากหินหนืดหรือลาวาทำให้หินท้องที่ในบริเวณนั้นแปรเปลี่ยนสภาพผิดไปจากเดิม 2.

ลักษณะทเี่ หมอื นกันของหินท้งั สองชนิดคือ ……………รูปร่าง / รูปทรง……………………………………… 2. ลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ของหินทง้ั สองชนดิ คอื ……………ส…ี ………ลวดลาย…………เนือ้ ของหนิ ……………………… ~3~ การเกดิ หิน (Rock) ~4~ ลักษณะภายนอกเฉพาะตัวท่สี ังเกตได้ของหิน 1. สขี องหิน (Color) คอื หนิ แต่ละก้อนจะมสี ีทแี่ ตกต่างกัน เช่น สขี าว สนี ้าตาล สีดา เป็นตน้ ~5~ 2. ลวดลาย (Pattern) คอื ลวดลายในเนื้อหนิ แต่ละชนดิ ที่เกดิ จากการทับถม ทบั ซอ้ นกนั ของหนิ เปน็ ช้ัน ๆ หรือบางชนิดอาจเกิดจากสงิ่ มีชีวิต ~6~ ~7~ 3. นา้ หนัก (Weight) คอื คา่ นา้ หนกั ของหนิ แตล่ ะก้อนเปรยี บเทียบโดยการชงั่ น้าหนกั ด้วยเครอ่ื งชัง่ หรอื ตาชงั่ 4. ความแขง็ (Hardness) คอื ความคงทนต่อการขดี ขูด ซ่งึ วิธีทดสอบความแขง็ โดยการนาหนิ แรม่ าขดู กนั เอง หรอื อาจเปรยี บเทยี บกับวัสดอุ ่นื เชน่ เลบ็ ตะปู ~8~ 5. เน้ือหิน (Texture) คือ ขนาดและการเรยี งตวั ของเมด็ แรใ่ นหนิ และการยดึ เกี่ยวกนั ของแรต่ ่างๆ เชน่ เนอ้ื หยาบ เน้อื ละเอยี ด ~9~ หนิ ทีพ่ บในประเทศไทย ในท้องถิ่นที่เราอาศยั อยจู่ ะพบหนิ มีอยทู่ วั่ ๆ ไป เชน่ เดยี วกับท้องถนิ่ อน่ื ๆ ใน ประเทศไทย เพราะประเทศไทยมีทรัพยากรจาพวกหินในปริมาณมาก ซง่ึ กระจายอยู่ เกอื บทว่ั ทุกจังหวัด หินจะมแี ร่เปน็ สว่ นประกอบ ดงั นั้น แหล่งท่มี หี ินก็จะมีแร่ทอ่ี ยใู่ นหิน ซ่งึ เราสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ได้ ~ 10 ~ ~ 11 ~ หนิ ในธรรมชาติ

  • หินในธรรมชาติ ป.1
  • โรง พยาบาล บางบาล
  • กะหล่ำปลี สรรพคุณ ประโยชน์มากมายที่ควรรู้ - Spring Green Evolution
  • Samsung hdmi ไม่มี สัญญาณ wifi
  • Botox 100 ยูนิต code
  • หินธรรมชาติ