transformex.org

วัคซีน Astrazeneca ราคา - แอสตร้าเซนเนก้า Astrazeneca ดีไหม ผลข้างเคียงหลังฉีดมีอะไรบ้าง

Saturday, 18-Jun-22 18:50:34 UTC

วิโรจน์กล่าว. นอกจากวัคซีน AstraZeneca แล้ว ส. วิโรจน์ยังตั้งคำถามถึง การสั่งซื้อวัคซีน Sinovac ของรัฐบาล ที่แม้จะมีข้อมูลเรื่องประสิทธิภาพที่ไม่สามารถป้องกันสายพันธุ์เดลตาได้ แต่รัฐบาลยังคงจะจัดซื้ออีก 28 ล้านโดส และต่อมาได้มีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2564 ซึ่งเชื่อว่าเป็นการอนุมัติให้จัดซื้อวัคซีน Sinovac เพิ่มเติมอีก 10. 9 ล้านโดส ด้วยวงเงินงบประมาณสูงถึง 6, 111. 412 ล้านบาท โดยคำนวณเป็นค่าใช้จ่ายต่อโดสอยู่ที่ 560. 68 บาท. ทั้งเขามองว่า ที่ผ่านมารัฐบาลได้จัดซื้อวัคซีน Sinovac ซึ่งเป็นวัคซีนที่ยังไม่มีงานวิจัยที่ทำอย่างเป็นระบบ ที่ยืนยันได้ว่ามีประสิทธิผล และมีความสามารถในการสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อกลายพันธุ์ ไปแล้วถึง 18. 5 ล้านโดส ใช้งบประมาณที่เป็นเงินภาษีของประชาชนไปแล้วกว่า 10, 000 ล้านบาท และหากยังคงปล่อยปละให้รัฐบาลจัดซื้อวัคซีน Sinovac เพิ่มเติมอีก 10. 9 ล้านโดส ก็ต้องใช้จ่ายงบประมาณเพิ่มอีกกว่า 6, 000 ล้านบาท และหากจัดซื้อตามแผนการจัดหาเพิ่มเติมอีก 28 ล้านโดส ก็ต้องใช้จ่ายงบประมาณเพิ่มอีกกว่า 15, 000 ล้านบาท. "เพื่อความโปร่งใส และทำให้ประชาชนมั่นใจว่า การจัดซื้อวัคซีนของรัฐบาล มีความซื่อสัตย์สุจริต ปราศจากการทุจริต คอร์รัปชั่น ผมจึงได้ทำหนังสือ เพื่อยื่นความประสงค์ ในการขอหนังสือสัญญา และเอกสารทั้งหมดที่เป็นเงื่อนไขในการจัดหา การจัดซื้อ การส่งมอบ ราคา ตลอดจนข้อกำหนด และเงื่อนไขผูกพันต่างๆทั้งหมด ที่รัฐบาลได้ทำไว้กับทุกองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหา และจัดซื้อ วัคซีน AstraZeneca และวัคซีน Sinovac ในวันนี้" วิโรจน์สรุป..

  1. ส่องราคา “วัคซีนโควิด”ต้องจ่ายเท่าไหร่ถึงจะได้ฉีด
  2. แพทย์รามาฯ เทียบประสิทธิภาพ-ความปลอดภัย “วัคซีน COVID-19”
  3. 'วี วิโอเลต' เผย ฉีดวัคซีน Astrazeneca ไข้ขึ้นทรมาน หนาวสั่น เจ็บไปทั้งตัว | Thaiger ข่าวไทย
  4. ประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกัน COVID-19
  5. สธ. แจง AstraZeneca เป็นผู้คัดเลือก Siam Bioscience ผลิตวัคซีนราคาทุน ขายถูกสุดในตลาด โต้ธนาธร ไม่ได้แทงม้าตัวเดียว – THE STANDARD
  6. แอสตร้าเซนเนก้า AstraZeneca ดีไหม ผลข้างเคียงหลังฉีดมีอะไรบ้าง

ส่องราคา “วัคซีนโควิด”ต้องจ่ายเท่าไหร่ถึงจะได้ฉีด

5 ยูนิต/มล. ซึ่งถือว่าเยอะกว่าซิโนแวคมากพอสมควร (ซิโนแวคเข็มแรกอยู่ที่ 1. 9 ยูนิต/มล. ) มีผลรายงานว่าสามารถต้านโควิดสายพันธุ์อินเดียได้ หากมองภาพรวมง่ายๆประสิทธิภาพของ AstraZeneca นั้นก็ถือว่าเป็นที่ยอมรับในระดับโลกเลยทีเดียว AstraZeneca ผ่านการรับรองหรือยัง? ผ่านการรับรองจาก อย.

แพทย์รามาฯ เทียบประสิทธิภาพ-ความปลอดภัย “วัคซีน COVID-19”

  1. 'วี วิโอเลต' เผย ฉีดวัคซีน Astrazeneca ไข้ขึ้นทรมาน หนาวสั่น เจ็บไปทั้งตัว | Thaiger ข่าวไทย
  2. สาวฉีดวัคซีนโควิด "แอสตร้าเซนเนก้า" ก่อนแพ้หนักมากหามขึ้นรถฉุกเฉิน
  3. สำรวจราคาวัคซีนต้านโควิด-19 ในประชาคมโลก โดสละเท่าไร – THE STANDARD
  4. 33rd golden disc awards 2019
  5. Lyn ทรง ถัง ibc

'วี วิโอเลต' เผย ฉีดวัคซีน Astrazeneca ไข้ขึ้นทรมาน หนาวสั่น เจ็บไปทั้งตัว | Thaiger ข่าวไทย

13 ล้านโดสเท่านั้น หากรวมกับที่ส่งมาก่อนหน้าด้วยจะอยู่ที่ 5. 49 ล้านโดส ไม่ถึงตัวเลข 6 ล้านโดสที่วางเอาไว้อยู่ดี. 7. ) ปัญหาของการที่ 'วัคซีนหลัก' จาก AstraZeneca ส่งมอบวัคซีนล่าช้า ทำให้รัฐบาลต้องไปนำเข้าวัคซีนตัวอื่นๆ เช่นของ Sinovac มาเพิ่มเติมอีก ทั้งๆ ที่ในทางวิชาทางการและงานวิจัยหลายๆ ประเทศก็ยืนยันตรงกันเป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโควิดไม่สูงมากนัก และยิ่งโควิดกลายพันธุ์ประสิทธิภาพก็ยิ่งน้อยลงไปอีก ไม่รวมถึงการคิดสูตร mix and match ให้เข็มแรก Sinovac เข็มสอง AstraZeneca ที่ถูกสื่อต่างชาติตีข่าวว่า เป็นประเทศแรกของโลกที่ใช้สูตร 'สลับวัคซีน' เช่นนี้. 8. ) สฤณีตั้งคำถามในรายการ #มาเถอะจะคุย ของ The MATTER x จอมขวัญ เมื่อวันที่ 14 ก. 2564 ว่า ในเมื่อรัฐบาลรู้แต่ต้นว่า ในสัญญาจองซื้อ/จัดซื้อวัคซีน AstraZeneca ไม่ได้กำหนดทามไลน์การส่งมอบที่ชัดเจนเอาไว้ แถมในสัญญาที่เปิดเผยมา แม้จะถมดำข้อความสำคัญจำนวนมาก แต่ด้วยโครงสร้างของสัญญาที่ 'หลวม' คือไม่มีบทลงโทษใดๆ แล้วทำไมรัฐบาลถึงไม่บริหารความเสี่ยงด้วยการจัดหาวัคซีนอื่นที่ประสิทธิภาพมาเพิ่มเติมอีก. 9. ) หลายคนอาจสงสัยว่า ทำไมรัฐบาลไทยถึงเลือกวัคซีนโควิดจาก AstraZeneca เป็น 'วัคซีนหลัก' มาแต่ต้น?

ประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกัน COVID-19

สธ. แจง AstraZeneca เป็นผู้คัดเลือก Siam Bioscience ผลิตวัคซีนราคาทุน ขายถูกสุดในตลาด โต้ธนาธร ไม่ได้แทงม้าตัวเดียว – THE STANDARD

นี่คือภาพรวมการสำรวจราคาวัคซีนต้านโควิด-19 ในประชาคมโลกอย่างน้อย 8 ตัวที่มีการประกาศใช้เป็นกรณีฉุกเฉินแล้วในหลายประเทศ เช่น วัคซีนจาก Pfizer-BioNTech ที่ประสิทธิภาพต้านโควิด-19 อยู่ที่ 91. 3%, วัคซีนจาก Moderna ที่ประสิทธิภาพต้านโควิด-19 อยู่ที่ 94. 5% รวมถึงวัคซีน Sputnik V จากสถาบัน Gemalaya ของรัสเซียที่ประสิทธิภาพต้านโควิด-19 อยู่ที่ 91. 6% โดยวัคซีนส่วนใหญ่ต้องฉีด 2 โดส ขณะที่วัคซีน Johnson & Johnson เป็นวัคซีนตัวเดียวในที่นี้ที่ฉีดเพียง 1 โดสเท่านั้น วัคซีน mRNA หรือ Genetic Vaccines อย่าง วัคซีนจาก Pfizer-BioNTech และ วัคซีนจาก Moderna จะมีราคาต่อโดสค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับวัคซีนต้านโควิด-19 ตัวอื่นๆ โดยมีราคาต่อโดสราว 20 ดอลลาร์สหรัฐขึ้นไป ขณะที่สำนักข่าว Reuters เคยรายงานว่า การฉีดวัคซีนต้านโควิด-19 จาก Sinovac ครบ 2 โดสในจีน อาจคิดเป็นเงินราว 60 ดอลลาร์สหรัฐ (ราว 1, 884 บาท) หรือเฉลี่ยโดสละ 30 ดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ราคาวัคซีน Sinovac ในอินเดียอยู่ที่โดสละ 13. 60 ดอลลาร์สหรัฐ (ราว 427 บาท) ทั้งนี้ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับปริมาณในการสั่งซื้อหรือสั่งจอง รวมถึงดีลในการเจรจากับผู้ผลิตวัคซีนต้านโควิด-19 แต่ละราย หมายเหตุ: คำนวณจากอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินต่างประเทศ 1 ดอลลาร์ ~31.

แอสตร้าเซนเนก้า AstraZeneca ดีไหม ผลข้างเคียงหลังฉีดมีอะไรบ้าง

16 มิ. ย. 2564 เวลา 12:49 น. 13. 3k "ดร. เจษฎา" โพสต์ยืนยัน วัคซีนโรคโควิด " astrazeneca" นับเป็น GMO แต่ไม่ได้ทำให้คนเรากลายเป็น GMO รศ. ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัว Jessada Denduangboripant "วัคซีนโรคโควิดบางตัว (ของ astrazeneca) นับเป็น GMO แต่ไม่ได้ทำให้คนเรากลายเป็น GMO" วันนี้เจอคำถามมาในเพจของ สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย เกี่ยวกับเรื่องว่าการฉีดวัคซีนโรค "โควิด-19W ทำให้คนเราเป็น GMO จีเอ็มโอ ไปด้วยหรือเปล่า!? อย่างนี้จะมีคนออกมาต่อต้านวัคซีน เหมือนที่ห้ามปลูกพืช GMO หรือไม่? ซึ่งเป็นปัญหาเดียวกันกับที่มีแชร์กันอยู่ในต่างประเทศเรื่อยๆ ว่า วัคซีนโรค covid-19 นั้นเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพราะคนที่ถูกฉีดเข้าไป จะกลายเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือ GMO (genetically modified organisms) คำกล่าวอ้างนั้นระบุว่า วัคซีนที่ฉีดเข้าไป จะแทรกตัวเข้าไปอยู่ในโครโมโซมในเซลล์ของคุณ ทำให้คุณไม่เป็นมนุษย์ปรกติอีกต่อไป แต่กลายเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ซึ่งต้องมีการขึ้นทะเบียนเมื่อจะขนย้ายเดินทางไปยังประเทศต่างๆ ซึ่งทะเบียนดังกล่าวก็มาในรูปของวัคซีนพาสปอร์ตทาส นั่นเอง (ว่าไปนั่น) แต่มันเป็นเรื่องไม่จริงเลยนะครับ!

5. ) และข้อเท็จจริงนี้ก็ถูกยอมรับอย่างเป็นทางการโดยสาธิต ปิตุเตชะ รมช. สาธารณสุข ที่พูดในรายการเจาะลึกทั่วไทย Inside Thailand เมื่อวันที่ 15 ก. 2564 ว่าในสัญญาไม่มีระบุว่าจะส่งเดือนละกี่ล้านโดส เป็นเรื่องที่ต้องไปเจรจาตกลงกัน โดย AstraZeneca จะส่งให้ไทย 40% ของกำลังการผลิตในเดือนนั้นๆ ซึ่งตอนนี้อยู่ที่เดือนละ 15 ล้านโดส "มันมีข้อคลาดเคลื่อนนิดหน่อย วัคซีนจาก AstraZeneca ที่เราสั่งซื้อทั้งหมด 61 ล้านโดส จะส่งมอบครบในเดือน พ. 2565 ไม่ใช่ในเดือน ธ. 2564" คือคำพูดยอมรับความจริงจากสาธิต ที่ทำให้หลายๆ คนตกตะลึง. ค่ำวันเดียวกัน สาธิตยังโพสต์ลงเพจเฟซบุ๊ก อ้างว่า "สถานการณ์เปลี่ยน" ทาง AstraZeneca แจ้งว่าจะส่งวัคซีนให้ตามทามไลน์ที่รัฐบาลไทยขอไปไม่ได้ เป็นเหตุให้สัมภาษณ์ในรายการไปเช่นนั้น. 6. ) คำพูดทั้งจาก ผอ. สถาบันวัคซีนฯ และ รมช. สาธารณสุข ที่เพิ่งมาบอกเราไม่กี่วันนี้ ทำให้รู้ว่า รัฐบาลเองก็รู้ตั้งแต่ต้นว่าในสัญญาจองซื้อ/จัดซื้อวัคซีนโควิดจาก AstraZeneca "ไม่มีทามไลน์การส่งมอบ" แต่กลับไม่ยอมบอกความจริงนี้กับประชาชน และข้อมูลจากกรมควบคุมโรคเอง ก็ระบุชัดว่า ในเดือน มิ. 2564 ทาง AstraZeneca ส่งวัคซีนให้ไทยได้เพียง 5.

สาธารณสุข เคยตอบกระทู้ถามสดในสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 17 มิ. 2564 ว่า "ภายในสิ้นปี 2564 วัคซีนทั้ง 61 ล้านโดส จะถูกส่งมอบ". มีอะไร หรือไม่มีอะไร ในสัญญาของ AstraZeneca กันแน่?. 1. ) เอกสารที่วิโรจน์ ลักขณาอดิศร ส. บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล ไปขอมาจากสถาบันวัคซีนแห่งชาติ ตั้งแต่เดือน มี. 2564 และได้รับสามเดือนถัดมา มี 3 ฉบับ #ฉบับแรก เป็นคำอธิบายเอกสารจากสถาบันวัคซีนแห่งชาติ ลงนามโดย นพ. นคร เปรมศรี ผอ. สถาบันวัคซีนฯ มีจำนวน 2 แผ่น #ฉบับสอง เป็น Letter of Intent หรือหนังสือแสดงเจตจำนง 4 ฝ่าย ระหว่าง สธ. ไทย, บริษัทตัวกลางอย่างเครือปูนซีเมนต์ไทย บริษัทที่จะรับจ้างผลิตอย่าง บ. สยามไบโอไซเอนซ์ และ AstraZeneca ในการเข้าถึงการผลิตวัคซีนโควิดซึ่งขณะนั้นอยู่ระหว่างพัฒนาโดย ม. อ็อกซ์ฟอร์ดของอังกฤษ มีจำนวน 2 แผ่น #ฉบับสาม เป็นฉบับสำคัญที่สุด คือสัญญาจองซื้อและจัดซื้อวัคซีนโควิดจาก AstraZeneca มีจำนวน 42 แผ่น ที่ถูกป้ายหมึกสีดำ หรือถมดำ เพื่อ 'เซ็นเซอร์' ข้อมูลสำคัญไปเป็นจำนวนมาก ดูเอกสารดังกล่าวทั้ง 3 ฉบับ. 2. ) วิโรจน์บอกกับ The MATTER ว่า ตนเข้าใจดีกว่าข้อมูลบางอย่างต้อง 'เซ็นเซอร์' เช่นความลับทางการค้าหรือทรัพย์สินทางปัญญา แต่สิ่งที่อยากรู้คือ แผนการส่งมอบ, เงื่อนไขบังคับหากส่งมอบล่าช้า, ความรับผิดชอบหากเกิดปัญหากับสินค้า ไปจนถึงราคาและงบประมาณ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ไม่เห็นจากสัญญาที่ได้รับนี้มาเลย นอกจากนี้ ยังสงสัยว่าเอกสารที่จะมีเฉพาะการจองซื้อวัคซีน AstraZeneca ล็อตแรก 26 ล้านโดสเท่านั้น ส่วนการจัดซื้อล็อตสองอีก 35 ล้านโดส น่าจะอยู่กับกรมควบคุมโรค จึงส่งหนังสือไปทวงถามแล้ว.

โรคหัวใจ หรือโควิด-19 กันแน่? อาการเหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก แยกอย่างไร? แท็ก: CAMPUS, ฉีดวัคซีนโควิด-19, วัคซีนโควิด, โควิด-19

อนุมัติงบกลาง 6, 387. 29 ล้านบาท จัดซื้อวัคซีนเพิ่มเติมอีก 35 ล้านโดส ในวันที่ 2 มี. 2564. วัคซีนโควิดของ AstraZeneca เป็นชนิดไวรัลเว็กเตอร์ ที่แม้ประสิทธิภาพโดยทั่วไป จะไม่ดีเท่าชนิด mRNA เช่น Pfizer Moderna แต่ก็ชนิดเชื้อตายอย่าง Sinovac หรือ Sinopharm ปัจจุบันมีอย่างน้อย 92 ประเทศที่ใช้วัคซีนโควิดของ AstraZeneca. 10. ) ด้านข้อมูลทั่วไป ก็มีเหตุผลพอเข้าใจได้ว่า ทำไมรัฐบาลไทยจึงเลือกวัคซีนนี้เป็นวัคซีนหลัก แต่ปัญหาจากการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการไม่เขียนสัญญาไว้ให้ 'แน่น' มีกำหนดการส่งมอบ หรือมีบทลงโทษการส่งมอบล่าช้า รวมไปถึงการไม่บริหารความเสี่ยงหาวัคซีนอื่นๆ ที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เข้ามาให้ได้มากและเร็วที่สุด (Sinovac หลายคนบอกว่า ถ้าเอามาแก้ขัดพอได้ แต่ไม่ควรเอามาเป็นวัคซีนหลัก) ปัญหาของการไม่พูดความจริง ทั้งคนในรัฐบาล ศบค. สธ. กรมควบคุมโรค หรือหน่วยงานใดที่เกี่ยวข้อง ชัดเจนว่าทำให้ชีวิตคนไทยนับแสน นับล้าน หรือนับสินล้านคน ตกอยู่ในความเสี่ยง เลิกพูดไปได้เลยว่า คนไทยไม่อยากฉีดวัคซีน เพราะจริงๆ เขาอยากฉีด แต่ถูกเลื่อนคิวฉีด เพราะภาครัฐเองหาวัคซีนมาให้ไม่พอ ถึงวันนี้ (16 ก. 2564) ตัวเลขผู้ติดเชื้อโควิดสะสมของคนไทย คือ 381, 907 ราย เสียชีวิตสะสมคือ 3, 099 ราย ในช่วงวิกฤตโรคระบาด ที่บางคนเปรียบว่าไม่ต่างกับ 'สงคราม' ไม่มีอะไรจะอันตรายกับชีวิตประชาชน มากไปว่ารัฐบาลที่ไร้ประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่พูดความจริง และไม่แสดงความรับผิดชอบอีกแล้ว

ส่วน Pfizer/BioNTech แอฟริกาใต้จะได้รับส่วนลดถึง 30% ทำให้ราคาลดลงมาถูกกว่าที่สหภาพยุโรปดีลไว้เสียอีกคือ 10 เหรียญสหรัฐต่อโดส แลห่งข่าวเผยกับ Business Insider ว่าราคานี้พิจารณาจากสถานะของแอฟริกาใต้ที่เป็นประเทศรายได้ปานกลางและวัคซีนนี้ถูกนำมาทดลองในแอฟริกาใต้ด้วย 20. หากใช้มาตรฐานนี้ ราคาวัคซีนทั่วโลกไม่มีทางเหมือนกัน จะถูกจะแพงขึ้นอยู่กับ 1. ประเทศนั้นๆ ลงทันวิจัยและพัฒนาวัคซีนมากแค่ไหน 2. ประเทศนั้นๆ อยู่ในกลุ่มรายได้ประเภทไหน 3. ประเทศนั้นยอมตกลงเงื่อนไขกับบริษัทหรือไม่ เช่น ยอมทำการทดลองวัคซีนในประเทศ ไทยเองก็ต้องขึ้นกับเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งใน 3 ข้อนี้ โดย กรกิจ ดิษฐาน