transformex.org

Zero Waste ประเทศไทย / Cp ประกาศ 2 เป้าหมาย นำทัพธุรกิจมุ่ง Zero Carbon

Saturday, 18-Jun-22 20:00:36 UTC

เศรษฐกิจ 05 มิ. ย. 2563 เวลา 16:21 น. 3.

  1. ภาษาจีน
  2. Zero Waste ขยะเหลือศูนย์เป็นจริงได้ เริ่มต้นที่บ้านเรา | TMA :: Thailand Management Association
  3. ประชากร
  4. Zero Waste : เศษผักในตลาด แปลงเป็นอาหารสัตว์ กำจัดขยะให้เหลือศูนย์

ภาษาจีน

14 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ลองคิดดูว่าในแต่ละวัน จะมีขยะมากมายขนาดไหนที่กองขยะในแต่ละวันทั่วโลก? จะดีกว่าไหมถ้าเราใส่ใจในการเลือกซื้อสินค้า เลือกที่จะปฏิเสธถุงพลาสติก หรือเลือกที่จะใช้หลอดกระดาษ เพื่อที่อย่างน้อยจำนวนขยะเหล่านั้นจะได้ลดลง แถมยังช่วยโลกของเราอีกด้วย นี่ไม่ได้โม้นะ! ลองคิดตามดูสิ ปกติถ้าเราใช้หลอดพลาสติก มันก็นำกลับมาใช้ใหม่ไม่ได้ แถมยังใช้เวลาย่อยสลายตามธรรมชาติเป็นร้อย ๆ ปี ถ้าเปลี่ยนเป็นหลอดสแตนเลสที่ใช้ซ้ำได้ไม่จำกัดครั้ง หรือหลอดกระดาษที่ย่อยสลายได้เองในไม่กี่วัน มันจะช่วยให้โลกนี้มีขยะลดน้อยลงมากแค่ไหน? หลักการของ Zero Waste หลักการของ Zero Waste ไม่มีอะไรซับซ้อนมาก จำง่าย ๆ คือ 1A3R นั่นเอง ได้แก่ Advoid คือการหลีกเลี่ยงการก่อให้เกิดขยะเพิ่ม เช่นการไม่ซื้อของที่บรรจุมาในบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ได้ครั้งเดียวแล้วต้องทิ้งเลย (ถุงแกงเป็นต้น) Reduce การใช้วัสดุที่ก่อให้เกิดขยะน้อยลง อย่างการใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ใช้กล่องข้าวแทนกล่องโฟม Reuse การนำสิ่งของต่าง ๆ กลับมาใช้ใหม่ ง่าย ๆ เลย อย่างการใช้กระดาษทั้งสองหน้าก็ถือว่าเป็นการนำกลับมาใช้ใหม่ Recycle การหมุนเวียนนำหลับมาใช้ใหม่ อย่างเช่นการเอาเศษอาหารที่เรากินเหลือไปหมักเป็นปุ๋ยสำหรับผักในสวน Zero Waste ทำได้จริงหรือเปล่า?

เราอาจไม่รู้ด้วยซ้ำว่าในแต่ละวันตนเองสร้างขยะทิ้งเอาไว้มากมาย ดังนั้นแนวคิดที่เรียกว่า Zero Waste จึงเป็นสิ่งดีๆ ที่จะช่วยเตือนสติพร้อมย้ำเตือนกับทุก ๆ คนบนโลกใบนี้ว่าขยะไม่ใช่เรื่องของใครคนใดเท่านั้น แต่ Zero Waste เป็นสิ่งที่ทุก ๆ คนจะต้องร่วมมือร่วมใจกัน ในบทความนี้เราดูกันว่า Zero Waste คืออะไร?

2 ซองต่อคนต่อปี เมื่อเทียบกับการบริโภคเฉลี่ยของคนทั่วโลกที่มีอยู่แค่ประมาณ 15 ซองต่อคนต่อปี แล้ว จะพบว่า โอกาสการเติบโตของตลาดต่างประเทศยังเปิดกว้างรออยู่ เช่นเดียวกับในบ้านเราที่ยังน่าจะเติบโตได้อีก เพราะตัวเลขของประเทศที่บริโภคบะหมี่สำเร็จรูปอันดับต้นๆ อย่างเกาหลีใต้จะมีมากถึง 70 ซองต่อคนต่อปีเลยทีเดียว 1 ชั่วโมงที่แล้ว • ข่าวรอบโลก ระทึก! เกิดเหตุกราดยิงในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน ในสถานีรถไฟใต้ดินนิวยอร์ก โดยชายสวมหน้ากาก มีอย่างน้อย 5 คนถูกยิง และมีผู้ได้รับบาดเจ็บประมาณ 8 คน Source: ดูทั้งหมด

Zero Waste ขยะเหลือศูนย์เป็นจริงได้ เริ่มต้นที่บ้านเรา | TMA :: Thailand Management Association

zero waste ประเทศไทย e
  1. Zero Waste ขยะเหลือศูนย์เป็นจริงได้ เริ่มต้นที่บ้านเรา | TMA :: Thailand Management Association
  2. Sea breeze แปล ว่า meaning
  3. Zero waste ประเทศไทย images
  4. ร้าน ต้นไม้ นครสวรรค์
  5. Zero waste ประเทศไทย policy
  6. ช่วงล่างรถยนต์ ที่ควรรู้
  7. โลโก้ แอ พ
  8. Zero waste ประเทศไทย san jose
  9. ตาราง ไซส์ keen'v

ประชากร

Reduce คือ ลดการใช้ บริโภคแบบพอเพียง ละเว้นของฟุ่มเฟือย เลือกใช้สินค้าที่สามารถนำกลับมา เช่น ลดการใช้ถุงพลาสติก พกแก้วน้ำส่วนตัว หันมาใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าแทน 2. Reuse คือ การใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้อีก เป็นการลดการใช้ทรัพยากรใหม่ และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น การนำขวดแก้วมาใช้ซ้ำ การบริจาคเสื้อผ้าแทนการทิ้ง 3.

เรื่องที่แนะนำ Zero Waste "ของทิ้งเป็นศูนย์" จากพลังเล็กๆ สู่การสร้างคุณค่าที่ยิ่งใหญ่ ให้กับโลกใบนี้!

Zero Waste : เศษผักในตลาด แปลงเป็นอาหารสัตว์ กำจัดขยะให้เหลือศูนย์

อุดหนุนร้านค้าแบบเติม ในต่างประเทศมี ร้านค้า แบบเติมหรือที่เรียกว่า Bulk Store ผุดขึ้นมามากมาย แต่ในไทยอาจจะยังไม่คุ้นชินนัก ซึ่งร้านแบบเติมแห่งแรกของไทยมีชื่อว่า "Refill Station ปั๊มน้ำยา" ที่รวบรวมผลิตภัณฑ์ Eco-friendly ที่สามารถใช้ซ้ำหรือย่อยสลายได้ โดยจะแบ่งขายสินค้าน้ำยาต่าง ๆ เป็นปริมาณตามต้องการ ซึ่งลูกค้าจะต้องนำภาชนะมาเอง โดยจะแบ่งขายตามน้ำหนักเพื่อลดปริมาณขยะที่มาจากบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วทิ้ง 5. ขวดเดียวแก้วเดิม เพิ่มเติมคือใช้ซ้ำ วันหนึ่งเราดื่มน้ำคนละกี่แก้ว ยังไม่นับรวมชา กาแฟ น้ำหวานอื่น ๆ นับรวมกันแล้วเป็นขยะหลายชิ้นทีเดียว พกขวดน้ำประจำตัวดีกว่า ใช้แล้วล้างก็สะอาด ดีกว่าการใช้ขวดพลาสติก ที่เสี่ยงต่ออันตรายเมื่อใช้ซ้ำ อีกทั้งกระบวนการผลิตและการทำลายขวดพลาสติกก่อให้เกิดก๊าซพิษ ที่กระทบต่อคนและสิ่งแวดล้อม เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดภาวะโลกร้อนนั่นเอง ปัจจุบันเป็นเรื่องน่ายินดีที่ผู้ประกอบการหลายแห่งตระหนักถึงปัญหานี้ และสนับสนุนให้ลูกค้านำแก้วมาเอง พร้อมมอบส่วนลดราคาเครื่องดื่มให้ 6. ลด-เลิกการใช้หลอดพลาสติก ปัญหาขยะพลาสติกล้นท้องทะเล ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน้ำ หลอดพลาสติกเป็นหนึ่งในขยะพลาสติกที่พบบ่อยที่สุดเมื่อมีการทำความสะอาดชายหาด มากพอ ๆ กับขวดน้ำ ถุงพลาสติกและแก้วพลาสติก ด้วยความที่หลอดมีน้ำหนักเบา ทำให้ขยะเหล่านี้พัดปลิวลงทะเล กระทบต่อสัตวน้ำในทะเลมีแนวโน้มเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเรื่อย เนื่องจากกินพลาสติกเข้าไปนั่นเอง การใช้หลอดใช้ซ้ำอย่างเช่น แบบสเตนเลส ซิลิโคน แบบไม้ไผ่ หรือหลอดแก้วใส จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหานี้ได้ และอย่าลืมพกแปรงจิ๋วเพื่อทำความสะอาดให้ถูกสุขอนามัยด้วย 7.

มีปริมาณขยะมูลฝอยเฉลี่ยกว่า 10, 678 ตันต่อวัน ซึ่งเทียบเท่ากับรถยนต์ขนาด 1, 500 ซีซี จำนวน 8, 988 คัน และในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2552-2561) มีการกำจัดขยะที่ถูกต้องเฉลี่ยเพียง 7. 9 ล้านตันเท่านั้น จากปริมาณขยะมูลฝอยเฉลี่ยทั้งสิ้น 26.

สุจิตรา จึงยืนยันชัดเจนว่าโครงการฯนี้ยังต้องเดินหน้าต่อไป พร้อมคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อนำเสนอเป็นโมเดลลดขยะในองค์กรต่อสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง การจัดกิจกรรมรณรงค์เรื่องการมีส่วนร่วมในการลดขยะเป็นประจำ แนะเทคนิค จะเริ่มลดขยะในองค์กร ต้องเริ่มอย่างไร จึงจะพิชิตภารกิจนี้ได้ สำหรับหลายๆ องค์กรหรือมหาวิทยาลัย ที่อยากจะริเริ่มโครงการลดขยะในองค์กร ดร. สุจิตรา ได้แนะปัจจัยสำคัญ ที่ต้องวางรากฐานให้เกิดขึ้นก่อน จึงจะนำไปสู่ชัยชนะในการลดขยะต่อไป ดังนี้ ผู้บริหารเห็นความสำคัญ ก็เท่ากับมีชัยไปกว่าครึ่ง ดร.